กิจกรรมทดสอบกลางภาค
บทความเรื่อง ความเป็นครูของพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว ของ ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล
วารสารทักษิณ
1. ขอสรุปที่ได้จากบทความ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นพระมหากษัตริย์ที่มีความรักต่อปวงชนชาวไทยมากที่สุด ซึ่งไม่มีพระมหากษัตริย์ประเทศใดแล้ว ที่เห็นความสำคัญกับปวงประชาการมากเพียงนี้ ไม่ว่าประชากรไทยอยู่ถิ่นไหน ท่านก็เสด็จไปถึงถิ่นนั้น เพื่อปกปักษ์รักษาดวงใจทุกดวงบนแผ่นดินไทยแห่งนี้ให้มีความอุดมสมบูรณ์สุขมากที่สุด
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นครูของแผ่นดิน เราจะเห็นว่าท่านมีโครงการมากมายในการพัฒนาประเทศ ท่านได้ทำในสิ่งที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้ให้กลับมาใช้ประโยชน์ได้และมีคุณค่ามากมาย เช่น โครงการแก้มลิง โครงการการปลูกหญ้าแฝก เป็นต้น ซึ่งเราจะเห็นว่าการที่พระองค์ได้เสด็จไปที่ไหนแล้วที่นั่นก็จะมีการพัฒนา ถ้าเทียบกับการศึกษาคือ จะเรียนรู้ได้ดีต้องลงมือปฏิบัติและสัมผัสกับของจริง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการอยู่ดี กินดี ของปสกนิกรชาวไทยให้ผ่านพ้นจากภัยการขาดแคลนของอาหารและข้าวของแพง ทำให้ปสกนิกรชาวไทยดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข
2. ถ้าท่านเป็นครูผู้สอนท่านจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์กับการเรียนการสอนได้อย่างไร
ถ้าผมเป็นครูผมจะสอนให้นักนักเรียนรู้จักใช้ความคิด กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ และรู้จักแก้ไขปัญหา เน้นการทำงานเป็นทีมอยู่กันอย่างสามัคคีรักใคร่กลมเกลียว(แตกต่างแต่ไม่แตกแยก) เน้นการสอนแบบบูรณาการ สอนแบบลงมือปฎิบัติจริง นักเรียนทุกคนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิติประจำวันและชุมชุมของตัวเองได้
3. ในฐานะนักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตจะออกแบบการเรียนการสอนที่จะนำแนวคิดนี้ไปใช้ได้อย่างไร
ในฐานะที่ผมเป็นครูในอนาคต ผมจะสอนแบบบูรณาการสามารถประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์ต่างๆ และสอนแบบลงมือปฏิบัติจริง ผมจะเป็นแบบอย่างที่ดีต่อลูกศิษย์ทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม และการใช้ชีวิตประจำวัน สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
2.บทความเรื่อง วิถีแห่งสตีฟ จ๊อบ (วารสาร
ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรอ่านหน้าที่
125-128)
1.ข้อสรุปที่ได้จากบทความ
ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรอ่านหน้าที่
125-128)
1.ข้อสรุปที่ได้จากบทความ
สตีฟ จ๊อบส์ คือ เป็นคนมีความพากเพียรพยายาม ขยัน
และตั้งใจที่จะทำสิ่งที่คาดหวังให้บรรลเป้าหมาย เค้าอาจเป็นคนที่มีการศึกษาไม่สูงนักแต่ฉลาดและน่าสนใจเขาได้คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ
ที่สร้างขึ้นจากมันสมองอัญชาญฉลาดของเขาสิ่งที่สร้างนั้นก็ไม่ได้เกิดขึ้นมาจากปาฏิหาริย์
แต่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาจากมันสมองและสองมือของมนุษย์ที่ผ่านกระบวนการ“ฝึก ศึกษา พัฒนา และใช้ปัญญา” กว่าเขาจะมาถึงวันนี้เข้าต้องฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆๆมากมายแต่ก็สามารถพ้นผ่านมาได้จนได้
จนกลายเป็นผู้คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆอย่างคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
2.ถ้าท่านเป็นครูผู้สอนท่านจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์กับการเรียนการสอนได้อย่างไร
2.ถ้าท่านเป็นครูผู้สอนท่านจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์กับการเรียนการสอนได้อย่างไร
ข้าพเจ้าจะนำความรู้ที่มีทั้งหมดนำไปถ่ายทอดให้แก่ลูกศิษย์โดยที่จะไม่หวงวิชา
โดยใช้การสอนที่ทำให้นักเรียนทุกคนแสดงความสามารถของแต่ละคนออกมาให้ได้และทำให้เขารู้ว่าเขามีความถนัดด้านใด
ก่อนที่จะสอนจะสอบถามถึงความชอบและถนัดในวิชาที่เรียนและนักเรียนเสนอแนวคิดและสิ่งที่จะเรียนที่แตกต่างกันออกไปแล้วนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
และจะรักศิษย์ทุกๆคนเท่ากันไม่ว่าเขาจะเรียนเก่งหรือไม่เก่งก็ตามและจะคอยให้คำปรึกษาเวลานักเรียนมีปัญหาต่างๆ
3. ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตจะออกแบบการเรียนการสอนที่ที่จะนำแนวคิดนี้ไปใช้ได้อย่างไร
สอนเรื่องความสามัคคี
1.ค้นคว้าหาข้อมูลเรื่องความสามัคคี
2.เรียบเรียงข้อมูลความสามัคคีที่จะนำมาสอน
3.เขียนจุดประสงค์การสอน
4.นำข้อมูลมาทำสื่อเรียนการสอน
เช่น PowerPoint ใบความรู้แจกนักเรียน เป็นต้น
5.ทำ Mind Map เรื่องความสามัคคี
การสอน
1.นำเสนอสื่อการสอน PowerPoint เรื่องความสามัคคี
2.แจกใบความรู้นักเรียนเรื่องความสามัคคี
3.ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันแล้วให้สรุปสิ่งที่ได้รับแล้วให้ทำ
Mind Map เรื่องความสามัคคี
4.นักเรียนนำเสนอ Mind
Map เรื่องความสามัคคี หน้าชั้นเรียน
5.เมื่อนำเสนอเสร็จก็ให้บันทึกสิ่งที่ได้รับใบความรู้เรื่องความสามัคคี
ที่แจกให้
6.
ให้คะแนนความสามัคคีภายในกลุ่มจากการสังเกตของครูในแต่ละกลุ่ม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น